Wednesday, January 16, 2008

ศัพท์วิชาการ

สารบัญกระบวนการ (Process) ผลลัพธ์ (Output) ผลสัมฤทธิ์ (Outcome) กระบวนทัศน์ (Paradigm)การพัฒนายั่งยืน (Sustainable Development)การพึ่งตนเอง (Self-reliance)การวิเคราะห์ (Analysis) การสังเคราะห์ (Synthesis) การคิดเชิงระบบ (Systems Thinking) การคิดแบบสร้างสรรค์ (Creative Thinking) การคิดแบบเส้นตรง (Linear Thinking) การแพทย์ทางเลือก (Alternative Medicine) การแพทย์เสริม (Complementary Medicine) การแพทย์องค์รวม (Holistic Medicine) สุขภาพองค์รวม (Holistic Health) ธรรมชาติบำบัด (Natural Healing) การมีส่วนร่วมของประชาชน การวางแผนยุทธศาสตร์ (Strategic Planning) แผนยุทธศาสตร์ (Strategic Plan)เกษตรผสมผสาน (Integrated Agriculture) ไร่นาสวนผสมเกษตรธรรมชาติ (Natural Farming) วนเกษตร (Forest Agriculture)เกษตรยั่งยืน (Sustainable Agriculture) เกษตรมั่นคง (Permaculture) เกษตรทฤษฎีใหม่เกษตรอินทรีย์ (Organic Farming) ปุ๋ยอินทรีย์ (Organic Fertilizer) ปุ๋ยชีวภาพ (Bio-fertilizer) ขบวนการทางสังคม (Social Movement) สถาบัน (Institution) องค์กรประชาชน (People's Organization) องค์กรชุมชน (Community-based Organization)คลัสเตอร์ (Cluster) คลัสเตอร์อุตสาหกรรม คลัสเตอร์วิสาหกิจชุมชน คืนสู่รากเหง้า (Back to the Roots) ความหลากหลายทางชีวภาพ (Biodiversity) พันธุกรรม (Gene) ดีเอ็นเอ (DNA) จีโนม (Genome) การตัดต่อพันธุกรรม (GMO) อาหารจีเอ็ม (GM food) เครดิตยูเนียน (Credit Union)เครือข่าย (Network)จิตวิญญาณ (Spirit)จิตสำนึก (Awareness) จิตสาธารณะ (Public Mind)จีดีพี (GDP ตัวชี้วัดเศรษฐกิจ) จีดีเอช (GDH ตัวชี้วัดความสุข)ชุมชน (Community) ชุมชนเสมือนจริง (Virtual Community) ประชาสังคม (Civil Society) เอ็นจีโอ (NGOs) ประชาคม (Community)ซีอีโอ (CEO)ทุนนิยม (Capitalism) เศรษฐกิจตลาด (Market Economy) เศรษฐกิจตลาดสังคมนิยม (Socialist Market Economy) จักรวรรดินิยม (Imperialism) การค้าเสรี (Free Trade) ข้อตกลงการค้าเสรี (FTA)ทุนชุมชน ทุนทางสังคม (Social Capital) ทุนทางวัฒนธรรม (Cultural Capital) ทุนเฉพาะบุคคล (Individual Capital) ทุนทางปัญญา (Intellectual Capital) ทุนมนุษย์ (Human Capital) สัญญาประชาคม (Social Contract)ธรรมาภิบาล (Good Governance)ธรรมาภิบาลบรรษัท (Corporate Governance) นวัตกรรม (Innovation) การทำลายที่สร้างสรรค์ (Creative Destruction)นโยบายสาธารณะ (Public Policy)นิเวศวิทยา (Ecology) ระบบนิเวศ (Ecosystem) การท่องเที่ยวเชิงนิเวศ (Ecotourism) บริโภคนิยม (Consumerism)บูรณาการ (Integration) การวางแผนพัฒนาแบบบูรณาการ (IDP)บริบท (Context)ประชาพิจารณ์ (Public Hearing)ประชาพิจัย (PR&D) แผนแม่บทชุมชนปราชญ์ชาวบ้านปรัชญา (Philosophy)ป่าชุมชน ผู้เกื้อกระบวนการ (Facilitator) ผู้เชื่อมให้เกิดการเปลี่ยนแปลง (Catalyst) ผู้เชื่อมเครือข่าย (Networker)แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติพลวัต (Dynamic)พลังร่วม (Synergy)โพสต์ โมเดิร์น (Postmodernism)ภาคี พันธมิตร หุ้นส่วนภูมิปัญญาชาวบ้าน ภูมิปัญญาไทยภูมิปัญญาสากล วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีระบบอุปถัมภ์ (Patron-client System)โลกาภิวัตน์ (Globalization) ท้องถิ่นนิยม (Localism) โลกาเทศาภิวัตน์ (Glocalization) ชุมชนนิยม (Communitarianism)วัตถุนิยม (materialism) วัตถุนิยมวิภาษ (Dialectic Materialism) วิภาษวิธี (Dialectic)วิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME)วิสาหกิจชุมชน (SMCE)วิสัยทัศน์ (Vision)ศักยภาพ (Potential)เศรษฐกิจชุมชนเศรษฐกิจพอเพียง (Sufficiency Economy)เศรษฐศาสตร์การเมือง (Political Economics)สปา (Spa)สหกรณ์ (Cooperative)สวัสดิการชุมชน (Community Welfare)สังคมนิยม (Socialism) คอมมิวนิสม์ (Communism) สงครามเย็น (Cold War)สิทธิมนุษยชน (Human Right)องค์รวม (Holistic, Holism) องค์การสหประชาชาติ (UN)องคาพยพ (Organism)อนาธิปัตย์ (Anarchism)อหิงสา (Non-violence)

อัตลักษณ์ (Identity)เอดส์ (HIV/AIDS)

บอร์ดรัฐวิสาหกิจแห่งชาติ (National Enterprise Board) การเคหะแห่งชาติ (New Town Development Corporations)

การประปาส่วนภูมิภาค (Regional Water Aughorities) หน่วยงานการบินและอวกาศ (British Aerospace)
องค์การสื่อสารมวลชน (Cable and Wireless)
บริษัทคอมพิวเตอร์ชั้นนำของประเทศอังกฤษอย่าง Amersham International

บริษัทขนส่งสินค้า (The National Freight Company)
สำนักงานทรัพย์สินส่วนพระมหากษัตริย์ (Crown Agents)

ปรัชญาอัตถิภาวะนิยม (Existentialism) ของ ซอเร็น คีร์เคกอร์ด
จิตนิยม (Idealism
ความรู้บริสุทธิ์บริบูรณ์ที่สุด (Reality

ภาพปริศนา (Jigsaw puzzle) เมื่อ
มองความจริงโดยองค์รวม (Holism)
ความรู้เฉพาะทาง (Specialization
กระบวนการค้นคิดหาเหตุผล (Rational)
อภิปรัชญา (Metaphysics) ศึกษาถึงความจริงสูงสุดที่อยู่เบื้องหลังปรากฏการณ์ธรรมชาติ ที่มีความเชื่อเป็น ๓ กลุ่ม กลุ่มแรกเชื่อว่า ความจริงแท้ของจักรวาลคือสสารกับพลังงานไม่มีจิต
(สสารนิยม - Materialism)
จิตนิยม - Idealism) ความจริงสูงสุดคือ จิต สสารเป็นเพียงผลิตผลของจิต ทวินิยม - Dualism) ความจริงสูงสุดนั้นเป็นทั้งสสารและจิตที่เป็นอิสระจากกัน
(สาขาอภิปรัชญายังแบ่งย่อยออกไปเป็น
ภววิทยา (Ontology) ศึกษาความจริงสากลของภาวะ (Being)
เทววิทยา (Theology) ศึกษาความจริงเกี่ยวกับพระเจ้า จักรวาลวิทยา
(Cosmology) ศึกษาความจริงเกี่ยวกับบ่อเกิดและโครงสร้างของจักรวาล (Cosmos) ญาณวิทยา (Epistemology) หรือทฤษฎีความรู้ ศึกษาถึงวิธีการแสวงหาความรู้ ซึ่งนักปรัชญาตะวันตกกลุ่มสสารนิยมเชื่อว่า ความรู้เกิดจากประสบการณ์ที่มนุษย์ได้รับผ่านจากทางประสาทสัมผัสทั้ง ๕ (Sensation)
(Reasoning) กลุ่มจิตนิยมเชื่อว่า ความรู้ที่แท้จริงนั้นมนุษย์ได้รับจากการคิดตามเหตุผลในใจ กลุ่มนี้มีความเชื่อลึกลงไปอีกว่า ความจริงสูงสุดบางครั้งเกิดจากความรู้ที่ผุดคิดออกมาจากญาณวิเศษที่เรียกว่า

Intuition) อัชฌัตติกญาณ หรือ สหัชญาณ (เช่นการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า
(Enlightenment) หรือ
วิวรณ์ (Revelation) ขององค์ศาสดาในศาสนาคริสต์และศาสนาอิสลาม กลุ่มที่เชื่อว่าประสาทสัมผัสให้ความจริงสูงสุดเรียกว่า

ลัทธิประสบการณ์นิยม (Empiricism)
Rationalism กลุ่มที่เชื่อว่าการใช้ความคิดให้ความรู้สูงสุดเรียกว่า ลัทธิเหตุผลนิยม (
ค้นคิดหาเหตุผล (Rational)

No comments: